ในการเป็นต้นแบบด้านการดูแลคุณภาพชีวิตในระบบสุขภาพ

ในการเป็นต้นแบบด้านการดูแลคุณภาพชีวิตในระบบสุขภาพ

อาเภอที่มีการท างานร่วมกันของทุกภาคส่วนในพื้นที่ ซึ่งอสม.มีความส าคัญเป็นอย่างยิ่งในกระบวนการด าเนินงานและเป็นตัวเชื่อมระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน แต่อย่างไรก็ตาม จากการรวบรวมข้อมูลสถานะสุขภาพของอ าเภอบ้านโฮ่ง ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2557-2561 พบว่า อัตราการเกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่มีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้น(Ban Hong District Public Health Office, 2018)เพื่อให้การด าเนินงานการเป็นต้นแบบด้านการดูแลคุณภาพชีวิตในระบบสุขภาพอ าเภอด าเนินไปอย่างต่อเนื่องและมีความยั่งยืน อีกทั้งในพื้นที่ยังไม่มีการศึกษาในประเด็นความรอบรู้ด้านสุขภาพและ

พฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพตามหลัก 3อ. 2ส. 

ในกลุ่ม อสม. ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาความรอบรู้ด้านสุขภาพตามหลัก 3อ. 2ส. พฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพตามหลัก 3อ. 2ส.และความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพตามหลัก 3อ. 2ส. ของ อสม. ในอ าเภอบ้านโฮ่ง จังหวัดล าพูนซึ่งข้อมูลที่ได้จากการศึกษาสามารถน ามาเป็นแนวทางส าหรับหน่วยงานภาครัฐและบุคลากรสาธารณสุขในการวางแผนพัฒนาเสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพตามหลัก 3อ. 2ส. เพื่อให้อสม. ได้รับการพัฒนาศักยภาพอย่างถูกต้องและเหมาะสม ส่งผลให้สามารถลดความเสี่ยงในการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังต่อไปวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพตามหลัก 3อ. 2ส. ของ อสม. 2. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพตามหลัก 3อ. 2ส. ของ อสม.ขอบเขตงานวิจัยประกอบด้วย4 ด้าน คือ 1) ด้านเนื้อหา มุ่งศึกษาความรอบรู้ด้านสุขภาพตามหลัก 3อ. 2ส. และพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพตามหลัก 3อ. 2ส. รวมทั้งศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพตามหลัก3อ. 2ส. 2) 

ด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่างคือ อสม. ในอ าเภอบ้านโฮ่ง จังหวัดล าพูน โดยมีกลุ่มตัวอย่างจ านวน 334 คน 3) 

ด้านพื้นที่ที่ศึกษา อ าเภอบ้านโฮ่ง จังหวัดล าพูน 4) ด้านระยะเวลาศึกษาตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2562

5วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship)ผ่านการรับรองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567)วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ปีที่ 8ฉบับที่ 2เดือน กรกฎาคม–ธันวาคม 2564Journal of Health Sciences Scholarship July -December 2021, Vol.8 No.2นิยามศัพท์เฉพาะความรอบรู้ด้านสุขภาพหมายถึง ระดับความสามารถและทักษะของอสม. ประกอบด้วยคุณลักษณะ6 ด้าน คือ ด้านการมีความรู้ ความเข้าใจ ด้านการเข้าถึงข้อมูลและบริการสุขภาพ ทักษะด้านการสื่อสาร รวมทั้งสื่อสารและโน้มน้าวผู้อื่นให้เข้าใจได้ ทักษะด้านการจัดการตนเอง ทักษะด้านการรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศ และทักษะด้านการตัดสินใจเลือกปฏิบัติที่ถูกต้องเพื่อให้มีพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพตามหลัก 3อ. 2ส. ได้แก่ อาหาร, ออกก าลังกาย, อารมณ์,ลด ละ เลิกการสูบบุหรี่ และลด ละ เลิกการดื่มสุราหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์พฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพหมายถึงการมีพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพตามหลัก 3อ. 2ส. ประกอบด้วย 5 ด้าน คือ ด้านการรับประทานอาหาร ด้านการออกก าลังกาย ด้านการจัดการอารมณ์ด้านการลด ละ เลิกการสูบบุหรี่ และด้านการลด ละ เลิกการดื่มสุราหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ปัจจัยส่วนบุคคล หมายถึง ลักษณะข้อมูลทั่วไปของ อสม. ได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา รายได้ และระยะเวลาการปฏิบัติงานเป็น อสม. กรอบแนวคิดการวิจัยจากการศึกษาทบทวนวรรณกรรมแนวคิด ทฤษฎี งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพตามหลัก3อ. 2ส. ตลอดจนแนวทางการสร้างเสริมสุขภาพตามหลัก 3อ. 2ส. ในการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพตามหลัก3อ. 2ส. ผู้วิจัยจึงน ามาปรับเป็นกรอบแนวคิดในการวิจัย ดังนี้

Credit : สล็อตเว็บตรง100 / ดูหนังฟรี / 50รับ100